ประวัติวัดและพระพุทธรูป - kachon.com

ประวัติวัดและพระพุทธรูป

ยักษ์วัดแจ้ง หรือ รูปยักษ์ยืน วัดอรุณราชวราราม ที่หน้าประตูซุ้มยอดมงกุฎมี ๒ ตน มือทั้งสองกุมกระบอง ยืนอยู่บนแท่น สูงประมาณ ๓ วา ยักษ์ที่ยืนด้านเหนือ(ตัวขาว) คือ สหัสเดชะ ส่วนด้านใต้(ตัวเขียว) คือ ทศกัณฐ์ ปั้นด้วยปูน ประดับกระเบื้องเคลือบสีเป็นลวดลายรูปลักษณะและเครื่องแต่งตัว รูปยักษ์คู่นี้เป็นของทำขึ้นใหม่ (ใบฎีกาบอกบุญนี้ ยังมีอยู่ในแฟ้มเอกสาร วัดอรุณฯ ๑๘ แผนกเอกสารสำคัญ กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรม

Read more

ประวัติวัดและพระพุทธรูป

เล่ากันว่าเป็นปริศนาลายแทงว่า “วัดอรุณมี ๙ รู” เดิมโบกปูนทับไว้ทั้งหมด   แต่เมื่อซ่อมใหม่จึงได้พบมุขหลังประดิษฐานพระกัจจายน์ หน้าตักกว้าง ๒ ศอก เป็นพระลงรักปิดทอง มีประตู ๔ ประตู ด้านหน้า ๒ ประตู และด้านหลัง ๒ ประตู ที่บานประตูด้านนอกเป็นลายรดน้ำรูปทหาร และมีรูปดอกไม้ประดับ ด้านในเป็นภาพเขียนสีเทวดาแบบทวารบาลทุกบาน   หน้าต่างมีข้างละ ๖ ช่อง ด้านนอกเป็นลายรดน้ำรูปดอกไม้ ด้านใน

Read more

ประวัติวัดและพระพุทธรูป

ก็นุ่งห่มผ้าชุบน้ำมันเดินออกมาน่าการบุเรียน นั่งพับเพียบพนมมือรักษาอารมณ์สงัดดีแล้ว ก็จุดไฟเผาตัวเข้า เมื่อเปลวไฟวูบขึ้นท่วมตัวนั้น นายเรืองร้องว่าสำเร็จปรารถนาแล้ว ขณะนั้นคนซึ่งดูอยู่ประมาณ ๕๐๐ – ๖๐๐ เศษ บ้างก็ร้องสาธุการเปลื้องผ้าห่มโยนบูชาเข้าไปในกองไฟ ชั้นแต่แขกภายนอกพระศาสนาก็ถอดหมวกออกคำนับโยนเข้าไปในไฟด้วย

Read more

ประวัติวัดและพระพุทธรูป

พระพุทธไตรรัตนนายก หลวงพ่อโต(ซำปอกง) วัดพนัญเชิง จังหวัดอยุธยา ตามประวัติ หลวงพ่อโต วัดพนัญเชิง สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.1867 เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย มีพระนามว่า พระพุทธไตรรัตนนายก หรือเรียกกันตามสามัญว่า หลวงพ่อโต(ซำปอกง) วัดพนัญเชิง ประดิษฐานอยู่ในพระวิหารวัดพนัญเชิง ริมฝั่งแม่น้ำป่าสัก ตรงข้ามกับมุมตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะเมืองอยุธยา 

Read more

ประวัติวัดและพระพุทธรูป

พี่น้องชาววัดอรุณ ร่วมกันจัดทำ “ป้ายสถิตดวงพระวิญญาณสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” ชาวชุมชนวัดอรุณฯนำโดย คุณวิทย์ วัดอรุณ ร่วมใจเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สร้างป้ายพระสถิตดวงวิญญาณสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช องค์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ท่านเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีเชื้อสายจีน แซ่แต้ เข้ารับราชการตั้งแต่สมัยพระเจ้าบรมโกษ ครั้นกรุงแตกในปี พ.ศ.2310

Read more

ประวัติวัดและพระพุทธรูป

พระวิหารน้อยแห่งนี้ในสมัยโบราณชาวบ้านในละแวกนี้จะเรียกขานกันว่าโรงพระแก้ว เพราะเคยเป็นที่ประดิษฐานขององค์พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรหรือพระแก้วมรกต เมื่อครั้งอัญเชิญมาจากนครเวียงจันทร์ในครั้งแรกในสมัยกรุงธนบุรี พระเจดีย์มหาจุฬามณีนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อมาตั้งบูชาแทน พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรหรือพระแก้วมรกต ณ วิหารน้อยแห่งนี้ หลังจากย้ายพระแก้วมรกตไปประดิษฐานที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

Read more

ประวัติวัดและพระพุทธรูป

พระประธานประจำพระวิหาร พระพุทธรูปองค์นี้เป็นพระพุทธรูปปางนาคปรก อันปรากฏในพระพุทธประวัติว่า เมื่อครั้งเสด็จนั่งเสวยวิมุติสุขยังร่มไม้จิก ได้บังเกิดฝนตกพรำอยู่ตลอด 7 วันในครั้งนั้นพญามุจลินท์นาคราชออกจากนาคภพมาทำขนดล้อมพระวรกาย 7 ชั้น แล้วแผ่พังพานปกคลุมเบื้องบนเพื่อป้องกันลมและพายุฝนไม่ให้ซัดสาดมาต้องพระวรกายพระพุทธรูปปางนาคปรกนี้ นิยมสร้างเป็นพระประจำวันของผู้ที่เกิดวันเสาร์ เข้าใจว่าภรรยา ของเจ้

Read more

ประวัติวัดและพระพุทธรูป

ที่ฐานชุกชีด้านหน้า พระพุทธชัมภูนุทมหาบุรุษลักขณาอสีตยานุบพิตร พระประธานในพระวิหาร วัดอรุณราชวรารามได้ประดิษฐาน “พระอรุณ” หรือ “พระแจ้ง” พระพุทธรูปปางมารวิชัย หล่อด้วยสำริด ศิลปะล้านช้าง หน้าตักกว้าง ๕๐ เซนติเมตร ซึ่งองค์พระพุทธรูปและผ้าทรงครองได้หล่อด้วยทองต่างสีกัน ตามประวัติกล่าวว่า เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๐๑ ในสมัย รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโ

Read more

ประวัติวัดและพระพุทธรูป

พระพุทธชัมภูนุทมหาบุรุษลักขณาอสีตยานุบพิตร วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร (วัดแจ้ง) กรุงเทพฯ “พระวิหาร” วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร (วัดแจ้ง) ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณฯ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ อันเป็นวัดประจำรัชกาลที่ ๒ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ตั้งอยู่ระหว่างมณฑปพระพุทธบาทจำลองกับหมู่กุฏิคณะ ๑ สร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒

Read more

ประวัติวัดและพระพุทธรูป

พระประธานในพระอุโบสถ วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณฯ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ อันเป็นวัดประจำรัชกาลที่ ๒ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ มีนามว่า “พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ทรงพระราชทานนามให้ พระประธานในพระอุโบสถ

Read more