ข่าวบทที่ 5 ประวัติความเป็นมาของการสร้างพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม(มีคลิป) - kachon.com

บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาของการสร้างพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม(มีคลิป)
ประวัติวัดและพระพุทธรูป

photodune-2043745-college-student-s

บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาของการสร้างพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม(มีคลิป)

พระปรางค์วัดอรุณฯ เป็นโบราณสถานที่สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่บริเวณหน้าวัดทางด้านทิศใต้หลังโบสถ์น้อยและวิหารน้อยริมแม่น้ำเจ้าพระยาเดิมสูง ๘ วา หรือ ๑๖ เมตร เป็นปูชนียสถานสำคัญที่สร้างขึ้นพร้อมกับโบสถ์น้อยและวิหารน้อย   

เที่ยวชมความสวยสดงดงามของวัดอรุณราชวราราม แบบเสมือนจริงทั้งพระอาราม คลิ๊ก

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ทรงมีพระราชศรัทธาจะเสริมสร้างให้สูงใหญ่เป็นพระมหาธาตุสำหรับพระนคร แต่การยังค้างอยู่เพราะเสด็จสวรรคตเสียก่อน ต่อมาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ทรงมีพระราชดำริเพื่อสนองพระราชประสงค์ของสมเด็จพระบรมชนกนาถ ได้เสด็จพระราชดำเนินไปก่อพระฤกษ์พระปรางค์ เมื่อวันแรม ๑๒ ค่ำ เดือน ๙ ตรงกับวันศุกร์ที่ ๒ กันยายน พุทธศักราช ๒๓๘๕ งานเสริมสร้างพระปรางค์ได้ดำเนินการจนแล้วเสร็จ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๓๙๔   รวมเวลาทั้งสิ้น ๙ ปี   

องค์พระปรางค์มีความสูง ๑ เส้น ๑๓ วา ๑ ศอก ๑ คืบ ๑ นิ้ว หรือ ๖๖ เมตร ๗๗.๐๘๓ เซนติเมตร ฐานกลมวัดโดยรอบได้ ๕ เส้น ๑๗ วา หรือ ๒๓๔ เมตร พระปรางค์วัดอรุณฯมีความสวยงามวิจิตรพิสดาร ซึ่งถูกสร้างขึ้นตามความเชื่อเรื่องคติจักรวาล โดยมีพระปรางค์องค์ประธานตรงกลางแทนเขาพระสุเมรุอันเป็นที่สถิตของพระอินทร์ และรายล้อมด้วยปรางค์ทิศ แทนทวีปทั้ง 4 และมหาสมุทรที่กั้นระหว่างแต่ละทวีป หรืออีกนัยหนึ่งเป็นการแทนธาตุทั้ง ๔ คือ  ดิน น้ำ ลม ไฟ  ช่วยหนุนโลกธาตุนี้ให้ดำเนินไปตามวิถี

เที่ยวชมความสวยสดงดงามของวัดอรุณราชวราราม แบบเสมือนจริงทั้งพระอาราม คลิ๊ก  

ซึ่งตามความเชื่อโบราณว่าผู้ใดที่ได้เข้ามาสักการะบูชาองค์พระปรางค์นี้ จะได้รับพลังงานแห่งธาตุทั้ง ๔ มาเกื้อหนุนดวงชะตา เพิ่มพลังงานให้แก่ดวงชะตา และยังเสริมความเป็นสิริมงคลให้แก่ชีวิต โดยพระปรางค์วัดอรุณฯ แบ่งองค์ประกอบสำคัญออกเป็น ๔ ชั้น คือ

ชั้นที่ ๑ ประกอบไปด้วยลานกว้าง ๔ มุม อันเป็นที่ตั้งขององค์พระปรางค์บริวารจำนวน ๔ องค์ ตั้งรายล้อมองค์พระปรางค์ประธาน ซึ่งเรียกว่าพระปรางค์ทิศ ที่ฐานของพระปรางค์ทิศมีช่องรูปกินนรกินรี ตรงเชิงบาตรเหนือช่องมีปูนปั้นรูปมารกับวานรกระบี่แบกองค์พระปรางค์สลับกัน เหนือขึ้นไปเป็นซุ้มคูหาภายในมีปูนปั้นรูปพระพายทรงม้า ยอดพระปรางค์ทิศมีรูปครุฑยุดนาคและเทพนมอยู่เหนือซุ้มคูหา เหนือยอดปรางค์เป็นนภศูลปิดทอง

เที่ยวชมความสวยสดงดงามของวัดอรุณราชวราราม แบบเสมือนจริงทั้งพระอาราม คลิ๊ก

ชั้นที่๒ ขององค์พระปรางค์ประธาน ประกอบไปด้วยพระมณฑปอันศักดิ์สิทธิ์ทั้ง ๔ ทิศ ภายในพระมณฑปทิศประดิษฐานพระพุทธรูปปางต่างๆ คือ พระมณฑปด้านทิศเหนือประดิษฐาน พระพุทธรูปปางประสูติ พระมณฑปด้านทิศตะวันออก ประดิษฐานพระพุทธรูปปางตรัสรู้ พระมณฑปด้านทิศใต้ ประดิษฐานพระพุทธรูปปางปฐมเทศนา และพระมณฑปด้านทิศตะวันตก ประดิษฐานพระพุทธรูปปางเสด็จดับขันธปรินิพพาน ในชั้นนี้ตรงเชิงบาตรขององค์พระปรางค์ประธานมีรูปปูนปั้นในวรรณคดีเป็นรูปมารแบกองค์พระปรางค์ไว้ 

ชั้นที่๓ ขององค์พระปรางค์ประธาน ในชั้นนี้ตรงเชิงบาตรรอบองค์พระปรางค์ประธานเป็นรูปปูนปั้นวานรในวรรณคดีแบกองค์พระปรางค์ไว้ ประดับด้วยกระเบื้องโบราณมีความสวยงามเป็นอย่างยิ่ง

เที่ยวชมความสวยสดงดงามของวัดอรุณราชวราราม แบบเสมือนจริงทั้งพระอาราม คลิ๊ก

ชั้นที่๔ ขององค์พระปรางค์ประธานมีซุ้มคูหาอันศักดิ์สิทธิ์ ภายในมีรูปปั้นพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณทั้ง ๔ ทิศ ใต้ซุ้มคูหาตรงเชิงบาตรรอบองค์พระปรางค์ มีรูปปูนปั้นเป็นรูปพระพรหมประดับกระเบื้องแบกองค์พระปรางค์ไว้ เหนือซุ้มคูหาเป็นยอดปรางค์ขนาดย่อม มีปูนปั้นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑแบกองค์พระปรางค์อยู่โดยรอบ เหนือบนสุดยอดพระปรางค์เป็นยอดนภศูลและมงกุฎเปียกทองคำ

  

องค์พระปรางค์ อยู่ภายในรั้วล้อมทั้ง ๔ ด้าน ตอนล่างเป็นกำแพงก่ออิฐถือปูน ตอนบนเป็นรั้วลูกกรงเหล็กทาสีแดงมีรูปครุฑยุดนาคติดอยู่ทุกช่อง ด้านตะวันตกหลังพระปรางค์นั้น มีเก๋งจีนอยู่ ๑ หลัง แต่เดิมนั้นมีประตูเข้าพระปรางค์ ๙ ประตู พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ โปรดให้รื้อออกทั้งหมดในคราวปฎิสังขรณ์ใหญ่ แล้วโปรดให้สร้างขึ้นใหม่เพียง ๕ ประตู และทรงโปรดให้ทำรูปพระราชลัญจกรประจำรัชกาล ตั้งแต่รัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๕ ติดในซุ้มเหนือบานประตูทั้งด้านนอกและด้านใน

เที่ยวชมความสวยสดงดงามของวัดอรุณราชวราราม แบบเสมือนจริงทั้งพระอาราม คลิ๊ก

ลานพระปรางค์วัดอรุณฯ ตั้งแต่รั้วถึงฐานพระปรางค์ ปูด้วยกระเบื้องหิน แต่ละมุมด้านในของรั้วมีแท่นก่อไว้มีลายเป็นขาโต๊ะตั้งติดกัน เข้าใจว่าจะเป็นที่สำหรับตั้งเครื่องบูชา รอบๆฐานพระปรางค์มีตุ๊กตาหินแบบจีนตั้งไว้ เป็นระยะ ๆ   บริเวณลานที่ตรงกับพระมณฑป มีราวเทียนและที่สำหรับปักธูปบูชาทั้ง ๔ พระมณฑป

ในยุคปัจจุบัน พระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระธรรมรัตนดิลก กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะภาค ๙ เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม ได้สืบสานพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ที่ทรงมีพระราชประสงค์ให้พระปรางค์วัดอรุณฯ เป็นพระมหาธาตุประจำพระมหานคร

เที่ยวชมความสวยสดงดงามของวัดอรุณราชวราราม แบบเสมือนจริงทั้งพระอาราม คลิ๊ก  

พระเดชพระคุณหลวงพ่อจึงเมตตาสั่งการให้ พระครูปลัดดิลกวัฒน์(พระมหาชุมพร นิติสาโร) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอรุณฯ และเลขานุการวัดอรุณราชวราราม พร้อมคณะกรรมการสงฆ์ประสานกรมศิลปากร เพื่อร่วมกันบูรณปฏิสังขรณ์   องค์พระปรางค์ และโบราณสถานสำคัญของวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารทั่วทั้งพระอาราม เพื่อให้มีความสวยสดงดงามเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และสมเป็นสัญลักษณ์การท่องเที่ยวที่สำคัญ ที่ทำให้ชาวต่างชาติทั่วทั้งโลกได้รู้จักประเทศไทย

แก่นแก้วออนทัวร์ by กะฉ่อน เบจมาศ อักษรนิจ รายงาน

สแกน QR Code เพื่อการเที่ยวชมความสวยสดงดงามของวัดอรุณราชวราราม แบบเสมือนจริงทั้งพระอาราม
Scan the QR Code to explore the beauty of Wat Arun. The whole monastery.
掃描QR碼以探索黎明寺的美麗。整個修道院。

第五章黎明寺的建設歷史(帶剪輯)

黎明寺的帕普朗 是在大城府時期建造的考古遺址 它位於教堂南側的神廟前,在湄南河旁,最初高8米或16米。

國王Phra Phuttha Lertlah Naphalai Rama II Ma下擁有建立它的皇家信仰,並成為Phra Nakhon的偉大佛像但是仍然存在,因為他先死了後來,拉瑪三世國王je下被發起,以履行國王His下的王室願望。 je下於公元前2385年9月2日(星期五),在第9個陰曆十二月初訪問了寶塔。在2394年,總共9年

塔身高度為1線,13 wa,1立方米,1英寸或66米,77.083厘米,圓形底座,高度為5線,17 wa或234米。它是根據對宇宙座右銘的信念而創建的總統的主要佛塔位於素陀羅住所的帕蘇門山中間並在四大洲的方向被寶塔所環繞,而四大洲將海洋分開換句話說,它代表了四個要素:土地,水,風和火,以支持這個世界跟隨其前進的道路

根據古代的信仰,凡來拜佛塔的人 將獲得支持命運的四個要素的能量 為您的星座增添能量 同時也增加了生活的繁榮 作者:黎明寺的帕普朗 關鍵組件分為4個級別:

一樓包括一個四角庭院,這是圍繞主格子的四個主格子的位置。叫做帕蘭吉戴(Phra Prangthidai)在北普朗的底部,有一個通道形的Kinnaree Kinnaree。在通道上方施捨碗的腳下,有灰泥雕像的魔鬼和甲米猿猴交替載有佛像展位上方是馬形槳的灰泥北方的寶塔頂部,展位拱頂上方有鷹報(Garuda),納迦(Naga)和塞普諾(Thepnom)的圖像。頂部上方是鍍金的nopot。

主格子佛像的二樓。它由朝北的佛像方向的四個神聖的蒙多佛像組成。耶穌降生佛像東側的帕蒙多普(Phra Mondop)啟蒙姿態下的佛像南佛護身符講道方向上的佛像西邊的帕蒙多普(Phra Mondop)將佛像供奉在Khantha Nirvana的入口處在和尚的和尚腳下的這一層中,文學作品中有一塊灰泥像魔鬼一樣承載著佛像。

主普朗佛像的3級 在這一層中,在盤頭主體周圍的碗腳下是文獻中帶有佛像的灰泥猴。 用古老的瓷磚裝飾,非常漂亮。

主佛像的四樓有一個神聖的展位。裡面有因陀羅的雕像,裡面有四隻愛侶灣大象。有一個灰泥,是梵天的形象,裝飾著承載帕普朗身體的瓷磚。展位上方是一座寶塔峰。 Vishnu Garuda勳爵(Lord Vishnu Garuda)的灰泥人物carrying著Phra Prang。 Prang頂部的上方是頂部和金色皇冠。

帕普朗圍牆內圍著下面的所有4個牆上部是塗有紅色油漆的鐵製欄杆,每個通道上都貼著Garuda Yudnaga的圖像。在寶塔後面的西邊中國有一輛馬車,最初有9扇通往Phra Prang的大門,朱拉隆功國王拉瑪五世,請在盛大的儀式上將它們全部拆除。然後,請僅建造5扇新門,並製作統治時期的皇家印章形象從拉瑪一世國王到拉瑪五世,拉瑪五世都安裝在門內外的拱門上。

帕普朗廣場,鄭王廟 從柵欄到格子的底部 鋪上石磚 圍欄的每個內角均配有一個底座,底座上裝有桌腿。 理解這將是獻祭的地方 在大草原的底部,在院子裡定期擺放著與佛像相符的中國石像。 有一個燭台和一個可以舉香拜佛的地方4

在現代 Phra Dech Phrakhun Luang Por 佛法寺 教會協會地區9僧伽委員會(Wang Arun Ratchawararam)的住持 繼承了拉瑪二世國王je下的王室願望,後者曾對鄭王廟進行過王室祝愿 是Maha Nakhon的Phra Mahathat

Phra Dech Phrakhun Luang Por已下訂單。帕·赫魯(Phra Khru)常務秘書迪洛克瓦(Phra Maha Chumpon Nitisaro)黎明寺助理住持以及鄭王廟(Wat Arun Ratchawararam)的秘書與美術系僧伽委員會一起共同還原帕普朗以及鄭王廟的重要考古遺址整個修道院的皇宮為了擁有美麗與美麗並且是旅遊的重要標誌這使全世界的外國人都能了解泰國

Beionmas Aksonnit Kaeneaw由Kaon Report巡迴演出

單擊以在虛擬廟宇中欣賞黎明寺的美麗。
https://360.kaenkaewontour.com/watarun

Chapter 5 History of the construction of the Prang of Wat Arun (with clips)

Phra Prang of Wat Arun Is an archaeological site built in the Ayutthaya period It is located in front of the temple on the south side behind the chapel and the noi by the Chao Phraya River, originally 8 meters or 16 meters high.

King Phra Phuttha Lertlah Naphalai, King Rama II, has the royal faith to build up to be a great Buddha image for Phra Nakhon. But still remaining because he died first Later, His Majesty King Rama III initiated the royal initiative to fulfill His Majesty's wishes. His Majesty visited the pagoda on the twelfth lunar day of the 9th month on Friday, September 2, B.E. 2385. The work to strengthen the prang was completed. In the year 2394, a total of 9 years

The body of the pagoda has a height of 1 line, 13 wa, 1 cubic meter, 1 inch, or 66 meters, 77.083 centimeters, round base, measuring 5 lines, 17 wa or 234 meters. Which was created according to the belief in the cosmic motto With the President's main pagoda in the middle of Phra Sumen Mountain, which is Indra's residence And surrounded by the pagoda in the direction of the four continents and the ocean that separates each continent Or, in other words, represent the four elements: earth, water, wind, fire to help this world to follow its path

Which according to the ancient belief that anyone who has come to worship this pagoda Will receive the energy of the four elements to support the destiny Add energy to your horoscope And also add to the prosperity of life By Phra Prang of Wat Arun The key components are divided into 4 levels:

The first floor consists of a four-corner courtyard, which is the location of the four main prangs surrounding the main prang. Which is called Phra Prangthidai At the base of the north prang, there is a channel shaped Kinnaree Kinnaree. At the foot of the alms bowl above the channel, there are stucco figures of the devil and the Krabi apes carrying the Buddha image alternately Above the booth, there is stucco in the shape of a horse-shaped oar. The top of the pagoda in the north with the image of Garuda, Naga and Thepnom above the arch of the booth. Above the top of the prang is a gold-plated nopot.

2nd floor of the main prang Buddha image It consists of four sacred Buddha images in the direction of the Buddha image. Nativity Buddha image Phra Mondop on the east side Enshrined Buddha image in the enlightenment posture South Buddha amulet Enshrined Buddha image at the orientation of the sermon And Phra Mondop on the west side Enshrined the Buddha image at the entrance of Khantha Nirvana In this floor, at the foot of the monk's monk, there is a stucco in the literature as a devil carrying the Buddha image.

Level 3 of the main prang Buddha image In this floor, at the foot of the bowl around the main prang body is a stucco monkey in the literature carrying the Buddha image. Decorated with ancient tiles, it is very beautiful.

The 4th floor of the main prang Buddha image has a sacred booth. Inside, there are statues of Indra holding the four Erawan elephants. There is a stucco, a figure of Brahma decorated with tiles carrying the body of Phra Prang. Above the booth is a small pagoda peak. There is a stucco of Lord Vishnu Garuda carrying Phra Prang around. Above the top of the top of the Prang is the top of the top and the golden crown.

Phra Prang Located inside the fence surrounding all 4 below is a brick wall The upper part is a red painted iron balustrade with the image of Garuda Yudnaga attached to every channel. On the west behind the pagoda There is 1 Chinese carriage, originally there is a 9 door to the Phra Prang, King Chulalongkorn King Rama V, please dismantle them all in the grand ceremony. Then please build only 5 new doors and please make the image of the royal seal of the reign From King Rama I to Rama V, installed in the arch above the door both outside and inside.

Phra Prang Square, Wat Arun Temple From the fence to the base of the prang Paved with stone tiles Each inner corner of the fence is equipped with a pedestal patterned with table legs installed. Understood that it would be a place for offering sacrifices Around the base of the prang, there are Chinese stone figurines set up periodically in the courtyard that meets the Buddha image. There is a candle rail and a place for holding incense to worship all 4 Phra Monthop

In modern times Phra Dech Phrakhun Luang Por Phra Dharmaratanadilok Committee of the Sangha of the Ecclesiastical Association Region 9 Abbot of Wat Arun Ratchawararam Has inherited the royal wishes of His Majesty King Rama II's Lertlah Naphalai, who has his wish Is Phra Mahathat of the Maha Nakhon

Phra Dech Phrakhun Luang Por has mercy orders. Phra Khru Permanent Secretary Dilokwat (Phra Maha Chumpon Nitisaro) Assistant Abbot of Wat Arun And secretary of Wat Arun Ratchawararam Together with the Sangha Committee, Fine Arts Department To jointly restore Phra Prang And important archaeological sites of Wat Arun Ratchawararam Royal Palace throughout the monastery In order to have the beauty of fresh beauty as an eco-tourism attraction And is an important symbol of tourism That allows foreigners all over the world to know Thailand

Beigemas Aksonnit Kaeneaw On Tour by Kaon Report

Click to see the beauty of Wat Arun in a virtual temple.
https://360.kaenkaewontour.com/watarun

.....

วัตถุมงคลเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี        
วัตถุประสงค์   
1.เพื่อหารายได้เข้ากองทุนการศึกษาสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วัดอรุณราชวราราม จำนวน 1,000,000 บาท               
2.สร้างพระผงของขวัญแจกฟรีแก่ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทั่วประเทศ จำนวน 50,000 เหรียญ                                                

รายการวัตถุมงคล เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี    

ลำดับที่ 1 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขนาด 3.5 เซนติเมตร    
1.1 เนื้อทองคำ น้ำหนัก 22 กรัม ขึ้น - ลง จำนวนการสร้าง 59 เหรียญ บูชาเหรียญละ 75,000 บาท  
1.2 เนื้อเงิน จำนวนการสร้าง 800 เหรียญ บูชาเหรียญละ 2,000 บาท   
1.3 เนื้อทองแดงหน้าเงินลงยา สร้าง 8 สี 1.ลงยาสีธงชาติ 2.ลงยาสีแดง 3.ลงยาสีเหลือง 4.ลงยาสีชมพู 5.ลงยาสีเขียว 6.ลงยาสีส้ม 7.ลงยาสีฟ้า 8.ลงยาสีม่วง จำนวนการสร้างสีละ 800 เหรียญ รวมสร้าง 6,400 เหรียญ บูชาเหรียญละ 400 บาท       
1.4 เนื้อทองสัมฤทธิ์เดช จำนวนการสร้าง 6,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 300 บาท    
1.5 เนื้อทองแดง จำนวนการสร้าง 10,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 200 บาท  

ลำดับที่ 2 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขนาด 2.5 เซนติเมตร    
2.1 เนื้อทองคำ น้ำหนัก 10 กรัม ขึ้น - ลง จำนวนการสร้าง 59 เหรียญ บูชาเหรียญละ 38,000 บาท  
2.2 เนื้อเงิน จำนวนการสร้าง 800 เหรียญ บูชาเหรียญละ 1,500 บาท   
2.3 เนื้อทองแดงหน้าเงินลงยา สร้าง 8 สี 1.ลงยาสีธงชาติ 2.ลงยาสีแดง 3.ลงยาสีเหลือง 4.ลงยาสีชมพู 5.ลงยาสีเขียว 6.ลงยาสีส้ม 7.ลงยาสีฟ้า 8.ลงยาสีม่วง จำนวนการสร้างสีละ 800 เหรียญ รวมสร้าง 6,400 เหรียญ บูชาเหรียญละ 350 บาท       
2.4 เนื้อทองสัมฤทธิ์เดช จำนวนการสร้าง 6,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 250 บาท    
2.5 เนื้อทองแดง จำนวนการสร้าง 10,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 150 บาท   

ลำดับที่ 3  เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เนื้อผงพุทธคุณ 108     
3.1 ฝังตะกรุดทองคำ 1 คู่ จำนวนการสร้าง 300 เหรียญ บูชาเหรียญละ 1,500 บาท   
3.2 ฝังตะกรุดเงิน 1 คู่ จำนวนการสร้าง 500 เหรียญ บูชาเหรียญละ 600 บาท

ลำดับที่ 4 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ชุดกรรมการ จัดรวม 100 ชุด (หมายเลขเดียวกัน)  บูชาชุดละ 12,500 บาท   
(ชุดกรรมการ 1 ชุด ได้รับเหรียญทั้งหมด 24 เหรียญ ประกอบด้วย 4.1 เนื้อเงิน ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.2 เนื้อทองแดงหน้าเงินลงยา 8 สี ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.3 เนื้อทองสัมฤทธิ์เดช ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร  4.4 เนื้อทองแดง ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.5 เนื้อผงพุทธคุณ 108 แบบฝังตะกรุดทองคำ และแบบฝังตะกรุดเงิน) 

รายนามพระเกจิอาจารย์ผู้เรืองวิทยาคมร่วมอธิษฐานจิตปลุกเสก เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่มมหาเศรษฐี
1.พระพรหมวัชรเมธี เจ้าคณะภาค๙ เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม กรุงเทพฯ
2.พระภาวนาวิสุทธิโสภณ (หลวงพ่อสุรศักดิ์) วัดประดู่ พระอารามหลวง สมุทรสงคราม
3.พระครูสุวรรณโชติวุฒิ (หลวงพ่อตี๋) วัดหูช้าง นนทบุรี

4.พระครูวิลาศกาญจนธรรม (หลวงพ่อเล็ก) วัดท่าขนุน กาญจนบุรี
5.พระครูภาวนาภัทรคุณ (ท่านพ่ออติโชติ) วัดพุทไธสวรรย์ อยุธยา
6.พระครูยติธรรมานุยุต (หลวงพ่อแป๊ะ) วัดสว่างอารมณ์ นครปฐม

7.พระครูประภาสธรรมทัต (หลวงพ่อป้อม) วัดหนองม่วง ราชบุรี
8.พระปลัดอำพล ฐิตปุญฺโญ (หลวงพ่ออ๊อด) วัดหูช้าง นนทบุรี 
9.พระครูสมุห์คำนวน ปริสุทฺโธ (หลวงพ่อนวล) วัดแก้วเจริญ สมุทรสงคราม
10.พ่อครูศิริพงษ์ ครุพันธ์กิจ (เกจิฆราวาสผู้เรืองวิทยาคมที่มีความศรัทธาในพระองค์ท่านเป็นอย่างยิ่ง)

รายนามคณะกรรมการการจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่มมหาเศรษฐี

ประธานฝ่ายสงฆ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระพรหมวัชรเมธี เจ้าคุณะภาค๙ เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม

ที่ปรึกษาฝ่ายสงฆ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พระวชิรรัตนาภรณ์ ดร. (ชุมพร) เลขาเจ้าคุณะภาค๙ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม

ที่ปรึกษาฝ่ายฆราวาส การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พ่อครูศิริพงศ์ ครุพันธ์กิจ

ประธานการจัดสร้าง เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
คุณอัครวิทย์ รัตนประสิทธิ์ (วิทย์ วัดอรุณ)

ประธานอุปถัมภ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
1.พลเอก ดร.เดชา เหมกระศรี นายกสมาคมกีฬาจักรยานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมถ์
2.คุณวันชัย ลาภวิไลพงศ์ (โต วัดอรุณ) ประธาน กต.ตร สถานนีตำรวจนครบาลบางกอกใหญ่
3.คุณธนิตย์ ลี้ชัยศิริมงคล (เสี่ยบุ้ง) เจ้าของร้านทองซิงแสงนภาโกลด์ (SSNP GOLD)
4.คุณเพ็ญจันทร์ ล้อสีทอง ประธานสมาพันธ์สตรีทำความดีแห่งประเทศไทย

รองประธานอุปถัมภ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
1.คุณณัฐกาญจน์ ทรัพย์โภค ฝ่ายประชาสัมพันธ์และแนะแนว คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี

ประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
คุณยายสมใจ ณ นคร ประธานมูลนิธิ ณ นคร และสายสัมพันธ์

รองประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
คุณจารุวัตร จันทร์โพธิ์ศรี(อาจารย์ไก่ ทิพยจักร)

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พลโท ชัยธัช สุวรรณกาญจน์ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพบก
พลโท โกศล ชูใจ ที่ปรึกษาพิเศษ สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
พลเรือโท ธัชพงศ์ บุษบง ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพเรือ
ท่านพิทักษ์ อบสุวรรณ อัยการอาวุโส สำนักงานคดียาเสพติด
ท่านสุภาภรณ์ นิปวณิชย์ อัยการผู้เชี่ยวชาญ สำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดียาเสพติด 9
ท่านชิติพัทธ์ คงมาก อัยการจังหวัดคุ้มครองสิทธิและการบังคับคดีจังหวัดราชบุรี
ท่านอาณัติ ศรีสุดดี อัยการจังหวัดชัยบาดาล
พันเอก(พิเศษ) มหินท์ ตุงคะเศรณี ผู้อำนวยการกองการศึกษา โรงเรียนทหารสารวัตร
พันเอก(พิเศษ) เสกสรรค์ พรหมศักดิ์ รองผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 12
คุณณรงค์ วโรดมสถาน (ออด) กรรมการบริหารสมาคมผู้สื่อข่าวต้านคอร์รัปชั่น(ประเทศไทย)
คุณปริญญา แก้วตัน (ล้าน) กรรมการบริหารสมาคมผู้สื่อข่าวต้านคอร์รัปชั่น(ประเทศไทย)

คณะกรรมการจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พระครูพิสิฐสรวุฒิ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม
พระครูพิสุทธิสรคุณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม
พระครูสมุห์ประครอง สุปติฏฺฐิโต วัดอรุณราชวราราม
พระมหาสุวิทย์ ปวิชฺชกิตฺติ วัดอรุณราชวราราม
พระมหากนกพล ธมฺมธีโร วัดอรุณราชวราราม
พระมหาณัฐนนท์ เขมานนฺโท วัดอรุณราชวราราม
พระมหาไตรภพ ติสฺสนาโค วัดอรุณราชวราราม
พระมหาหัสดี จรณธมฺโม วัดอรุณราชวราราม 
พระครูปลัดธนันท์รัฐ โชติธมฺโม วัดประยุรวงศาวาส

คุณฉัตรชัย ทองสวัสดิ์
คุณสมบัติ ทองสวัสดิ์ ประธานชุมชนปรกอรุณ
คุณวรวิทย์ โชคขจิตสัมพันธ์  ประธานชุมชนลานมะขาม-บ้านหม้อ  
คุณสมโภชน์ สูงโพธิ์  ประธานชุมชนข้างโรงเรียนพาณิชยการราชดำเนิน
คุณนพรัตน์ มงคลวิเชียร (แว่น วัดอรุณ)
คุณสมเกียรติ เสิศกาญจนาพร (หยอง วัดอรุณ)
คุณประพัฒน์ จันทร์วันเพ็ญ (แต๊บ วัดอรุณ)
คุณกฤษณะ เนาว์สถาน (นะ เมืองเพชร)
คุณกมล เล้าโสภาภิรมย์ (เตี้ย สวนทะเล)
คุณสรยุทธ์ จุลเจริญนนท์ (ป้อม punk berry)
คุณจันทร์ดาราอัปสร รัตนประสิทธิ์ (อาจารย์ฝนทิพย์)
คุณบัญชา ปานนิวัฒน์ (ป๋าชู วัดเศวต)
คุณสุชาดา ปานนิวัฒน์ (เจ้แป้น วัดเศวต)
คุณวิโรจน์ หอมหวาน (ทนายโรจน์ เพชรบุรี)
คุณมนตรี วิไลสมสกุล (ติ๊ก จันทบุรี)
คุณชลัช ชมเจริญ (กุ้ง ท่าพระจันทร์)