ข่าวคนโคราชไม่ใช่ “ลาว” แล้วคนโคราชเป็นใคร? มาจากไหน? - kachon.com

คนโคราชไม่ใช่ “ลาว” แล้วคนโคราชเป็นใคร? มาจากไหน?
ประวัติวัดและพระพุทธรูป

photodune-2043745-college-student-s

ชาวโคราช พ่อค้าเกวียนบรรทุกสินค้าไปขายในอยุธยา ภาพนี้เป็นกองเรือทางบกกับกองเรือทางน้ำ ขนสินค้ากระจายสู่ท้องถิ่นบ้านเมืองต่างๆ ในสมัยก่อน (ภาพจาก “ ‘พลังลาว’ ชาวอีสาน มาจากไหน”)

คนโคราชไม่ใช่ “ลาว” แล้วคนโคราชเป็นใคร? มาจากไหน?
หลังจากนั้นก็มีพัฒนาการเป็นบ้านเมือง แล้วรับอารยธรรมจากต่างประเทศผ่านขึ้นมาทางภาคกลางบริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ราวหลังพ.ศ. 1200 บ้านเมืองแถบนี้รับพระพุทธศาสนาผ่าน “รัฐทวารวดี” ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เข้ามาเป็นศาสนาประจำถิ่นมี 2 กลุ่ม คือนครราชสีมาหรือโคราช อยู่ต้นลําน้ำมูลในอีสาน เป็นบ้านเมืองที่มีความเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย เริ่มด้วยมีชุมชนหมู่บ้าน เก่าแก่อยู่ที่บ้านปราสาท (ตําบลธารปราสาท อําเภอโนนสูง) และบ้านโนนวัด (ตําบลพลสงคราม อําเภอโนนสูง) กับมีแหล่งภาพเขียนสียุคดึกดําบรรพ์อยู่ที่ถ้ำเขาจันทน์งาม (บ้านเลิศสวัสดิ์ ตําบลลาดบัวขาว อําเภอสีคิ้ว) ทั้งสองแห่งมีอายุประมาณ 3,000 ปีมาแล้ว ล้วนเป็นหลักฐานมันคงว่าชุมชนเหล่านี้มีพัฒนาการตั้งแต่ 3,000 ปีแล้ว แล้วสืบเนื่อง ถึงปัจจุบันไม่ขาดสาย (ดังมีรายงานการขุดค้นแหล่งโบราณคดีบ้าน โนนวัด ตําบลพลสงคราม อําเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา ของรัชนี ทศรัตน์ สํานักศิลปากรที่ 12 นครราชสีมา สํานักโบราณคดี กรมศิลปากร)

กลุ่มนับถือคติหีนยาน มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองเสมา (เขตอำเภอสูงเนิน) และ กลุ่มนับถือคติมหายาน มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองพิมาย (เขตอําเภอพิมาย)

หลัง พ.ศ. 1500 อิทธิพลทางการเมืองและวัฒนธรรมขอมจากเมืองพระนครซึ่งนับถือศาสนาฮินดูได้แผ่ขยายเข้ามาครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำมูลอย่างเต็มที่ แต่ท้องถิ่นเมืองพิมาย ก็ยังคงยกย่องนับถือคติมหายานอย่างต่อเนื่อง

ระหว่าง พ.ศ. 1550-1600 ก็ เริ่มสร้างปราสาทพิมาย มีขนาดใหญ่โตที่สุดในแดนอีสาน

ปราสาทพิมายไม่ใช่ “เทวสถาน” ของฮินดู แต่เป็น“วัดพุทธคติมหายาน” และมีหลักฐานน่าเชื่อว่าที่นี่เป็นศูนย์กลางของแคว้นมหิธรปุระ ซึ่งเป็นถิ่นกําเนิดราชวงศ์มหิธรปุระ บรรพบุรุษของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ผู้ทรงสร้างปราสาทนครวัดและกษัตริย์ขอมองค์อื่นๆ อีก ตรงนี้หมายความว่าบรรพบุรุษของกษัตริย์เขมรสาย หนึ่งมีหลักแหล่งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำมูลนี้เอง

เมืองพิมายลดความสําคัญลงเมื่อหลัง พ.ศ. 1763 (โดยประมาณ) เนื่องมาจากสิ้นรัชกาลพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 อาณาจักรขอมเมืองพระนครเสื่อมโทรม คติมหายานก็โรยรา และพระพุทธศาสนาคติเถรวาทจากลังกา (ลังกาวงศ์) เฟื่องฟูขึ้นแทนที่ แต่เมืองพิมายก็มิได้รกร้างเพียงแต่ไม่คึกคักคับคั่งเหมือนสมัยก่อนๆ

ต่อจากนั้นพวก “สยาม” ก็แผ่อํานาจลงมามีอิทธิพลเหนือบ้านเมืองและแว่นแคว้นบริเวณลุ่มแม่น้ำมูล ไม่มีหลักฐานว่า “สยาม” พวกนี้มาจากไหน? แต่มีร่องรอย หลายอย่างน่าเชื่อว่ามาจากแคว้น โคตรบูร (มีศูนย์กลางอยู่เมืองเวียงจัน)

เมืองนครราชสีมา มีชื่อครั้งแรกในกฎมณเฑียรบาล ชื่อนี้มาจากคําว่า นคร+ราช+สีมา หมายถึงนครที่เป็นชายขอบของราชอาณาจักร (สยาม) แต่ปากชาวบ้านเรียกสั้นๆ ว่า ครราช (อ่านว่า คอน-ราด) แล้วเพี้ยนเป็น โคราช (ที่มาของชื่อเมืองนครราชสีมาไม่เกี่ยวกับตํานานเมืองเสมากับเมืองโฆราคปุระที่ผูกนิทานขึ้นมาภายหลัง)

เอกสารสมัยต้นกรุงศรีอยุธยา เช่น พระราชพงศาวดารฯ และอื่นๆ ไม่ค่อยมีเรื่องราวเกี่ยวข้องกับอีสาน แต่มีฉบับหนึ่งบันทึกว่า สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) เตรียมจะยกทัพไปตี บ้านเมืองแถบลุ่มแม่น้ำมูล เมื่อเจ้าเมืองพิมายกับเจ้าเมืองพนมรุ้งรู้ข่าว ก็ชิงยอมอ่อนน้อมเสียก่อน ก็เป็นอันรู้ว่ากรุงศรีอยุธยามีอํานาจเหนือบ้านเมืองแถบลุ่มแม่น้ำมูลในสมัยนี้เอง

ดังนั้น เมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถซึ่งเป็นพระราชโอรสเจ้าสามพระยาได้ครองกรุงศรีอยุธยาสืบต่อมา (พ.ศ. 1991-2031) และโปรดให้ทํากฎมณเฑียรบาล จึงมีรายชื่อเมืองขึ้นตั้งแต่เขตลุ่มแม่น้ำมูลถึงแม่น้ำโขงคือเมืองโคตรบอง (โคตรบูร) และเมืองเรวแกว (เมืองเรอแดวหรือระแว์) อยู่ลุ่มแม่น้ำโขง (ในลาวใต้ทุกวันนี้) ส่วนทางลุ่มแม่น้ำมูลมีเมืองนครราชสีมาอยู่ในฐานะ “เมืองพญามหานคร” ที่ได้ถือน้ำพระพิพัฒน์เทียบเท่าเมืองพิษณุโลก, เมืองสุโขทัย, เมืองศรีสัชนาลัย, เมืองนครศรีธรรมราช ฯลฯ ที่ล้วนเคยเป็นบ้านเมืองแว่นแคว้นใหญ่มาก่อน

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงติดต่อกับชาวตะวันตก แล้วรับความรู้ทางด้านเทคโนโลยีจากชาวตะวันตกเข้ามาสร้างป้อมปราการ และกําแพงเมืองสําคัญๆ ด้วยอิฐและหิน เช่น เมืองพิษณุโลก, เมืองศรีสัชนาลัย, เมืองนครศรีธรรมราช เป็นต้น ฉะนั้นการที่มีชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกในกฎมณเฑียรบาลและให้มีฐานะเทียบเท่าเมืองสําคัญๆ ที่มีมาแต่ก่อน ก็น่าจะเชื่อได้ว่าสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดให้สร้างกําแพงเมืองนครราชสีมาขึ้นแล้วแต่ครั้งนั้น แล้วสมเด็จพระนารายณ์ฯ มาซ่อมสร้างเพิ่มเติม

เมืองนครราชสีมานี้ เอกสารของลาลูแบร์ซึ่งเป็นราชทูตฝรั่งเศสที่เข้ามาเฝ้าสมเด็จพระนารายณ์ฯ (พ.ศ. 2199-2231) ณ กรุงศรีอยุธยา บอกว่าเป็นเมืองชายแดนที่อยู่ติดพรมแดนลาว แสดงว่าอาณาเขตของลาวสมัยนั้นอยู่ลึกเข้ามาชนแดนเมืองนครราชสีมา ฟังแล้วไม่น่าเชื่อ แต่ก็ต้องเชื่อ เพราะล่วงมาถึงสมัยรัชกาลที่ 5 (หลังเหตุการณ์เจ้าอนุวงศ์)แล้ว นายทิม สุขยางค์ ยังบอกไว้ใน “นิราศหนองคาย” ว่าพ้นเมืองพิมายออกไปถึงลําละแทกก็เป็นเขตเมืองลาว

ก็เสร็จข้ามแม่น้ำลําละแทก   เป็นลําแยกจากมูลศูนย์กระแส

สินเขตแดนพิมายเมืองชําเลืองแล  เข้าแขวงแควเมืองลาวชาวอารัญ

แสดงว่าพรมแดนเมืองนครราชสีมาจริงๆ แล้วอยู่ตรงลําละแทกเหนือเมืองพิมายนี่เอง สอดคล้องกับเหตุการณ์เจ้าอนุวงศ์ที่ยกทัพล่วงลงมาถึงแดนเมืองนครราชสีมาอย่างสะดวกโดยไม่มีสิ่งใดขัดขวาง

คนโคราชไม่ใช่ “ลาว”

ก่อนกรุงศรีอยุธยาแตกเมื่อ พ.ศ. 2310 กองทัพเมืองนครราชสีมาถูกเกณฑ์ให้มารักษากรุง แต่มีเหตุให้ยกหนีกลับเมืองเสียก่อนเลยไม่ได้รบกับพม่า ครั้งนั้นกรมหมื่นเทพพิพิธซึ่งเป็นโทษต้องเนรเทศไปอยู่ลังกาก่อนแล้วหนีมาอยู่เมืองจันทบุรี ได้ชักชวนพวกชาวเมืองชายทะเลทางตะวันออกยกเป็นกองทัพมาหวังจะรบพม่าเพื่อแก้ไขกรุงศรีอยุธยา

กรมหมื่นเทพพิพิธมาถึงเมืองปราจีนบุรี ให้กองทัพหน้าตั้งอยู่ปากน้ำโยทกาเมืองนครนายก แต่ถูกพม่ายกไปตีทัพหน้าแตกหมด เมื่อเห็นจะสู้ไม่ได้จึงพากันยกหนีขึ้นไปทางเมืองนครราชสีมา กรมหมื่นเทพพิพิธคิดจะชวนเจ้าเมืองนครราชสีมาให้เกณฑ์กองทัพไปรบพม่า แต่พระยานครราชสีมามีปัญหาจึงถูกลอบฆ่าตาย กรมหมื่นเทพพิพิธเลยเข้าไปตั้งอยู่ในเมืองนครราชสีมาแล้วถูกพวกเมืองพิมายยกมาล้อมจับไปคุมไว้เมืองพิมาย

ครั้นกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าก็เป็นอันสิ้นพระราชวงศ์ที่จะครองราชอาณาจักร พวกเมืองพิมายจึงยกให้กรมหมื่นเทพพิพิธขึ้นเป็นใหญ่ เรียก “เจ้าพิมาย” มีอํานาจเหนืออาณาเขตเมืองนครราชสีมาทั้งหมด เป็นที่รู้จักในชื่อ “ก๊กเจ้าพิมาย” แต่ท้ายที่สุดก็ถูกสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีปราบปรามได้แล้วให้ประหารชีวิต

จากนั้นเมืองนครราชสีมาก็มีความสําคัญขึ้นเรื่อยๆ เมื่อกรุงธนบุรีขยายอํานาจออกไปถึงสองฟากแม่น้ำโขงชนแดนกัมพูชา แล้วให้เมืองนครราชสีมาปกครองเหล่าหัวเมืองที่ได้มาใหม่

ก่อนเกิดจลาจลในกรุงธนบุรี เจ้าเมืองนครราชสีมาคือพระยาสุริยภัย เป็น “หลาน” ของเจ้าพระยาจักรี (ต่อมาคือรัชกาลที่ 1) พระยาสุริยอภัยชื่อเดิมว่า “ทองอิน” เป็นบุตรคนโตของสมเด็จพระพี่นางเธอพระองค์ใหญ่ (สา) เป็นกําลังสําคัญในการนําทัพลงไปยึดอํานาจกรุงธนบุรีเพื่อรอท่าเจ้าพระยาจักรี และเพราะความดีความชอบนี้จึงได้ รับสถาปนาเป็นเจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ ได้เป็นกรมพระราชวังหลังในรัชกาลที่ 1

จะเห็นว่ากรมหมื่นเทพพิพิธรวบรวมผู้คนจากหัวเมืองชายทะเลตะวันออก มีจันทบุรี, ระยอง, ชลบุรี, ปราจีนบุรี และนครนายก เป็นกําลังสําคัญให้ขึ้นไป “ตั้งหลัก” อยู่เมืองนครราชสีมาและเมืองพิมาย ครั้นหลังกรุงแตกยังมี “ข้าเก่า” จากกรุงศรีอยุธยาหนีพม่าขึ้นไปตั้งหลักแหล่งเพิ่มเติมอยู่ด้วยอีกมาก พวกนี้ไม่ใช่ลาวแต่เป็นไทยสยามภาคกลาง เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีปราบ “ก๊กเจ้าพิมาย” แล้ว ก็ไม่ได้กวาดต้อนผู้คนเหล่านี้ลงมากรุงธนบุรี พวกนี้ได้ปักหลักอยู่ที่นั่นแล้ว กลายเป็นบรรพบุรุษกลุ่มใหญ่ของคนโคราชปัจจุบัน

คนพวกนี้แหละ ได้ผสมกลมกลืนกับคติท้องถิ่นที่มีมาแต่ดั้งเดิม (ซึ่งน่าสงสัยว่าเป็นแบบกรุงศรีอยุธยาสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ นั้นเอง) แล้วเกิดประเพณีใหม่กลายเป็น “วัตนธรรมโคราช” เช่น สําเนียงโคราช กระเดียดไปทางสําเนียงชายทะเลตะวันออกแถบระยองและจันทบุรี แม้ผู้คนแถวปราจีนบุรีและนครนายกเมื่อสัก 50 ปีมาแล้วก็พูดสําเนียง เก่าแบบ “ยานคาง” ไม่ต่างจากสําเนียงโคราชนัก, เพลงโคราชก็ฉันทลักษณ์และลีลาเดียวกับเพลงพาดควาย, เพลงฉ่อย (ไม่ใช่ลําตัดที่เพิ่งเกิดสมัยรัชกาลที่ 5) นอกจากนั้นยังมีประเพณีอื่นๆ อีก เช่น กินข้าว จา, เคียวหมาก, ตัดผมเกรียน, นุ่งโจงกระเบน และมีศิลปะสถาปัตยกรรมวัดวาอารามแบบอยุธยาภาคกลาง

นี่แหละคนโคราชกันเอ๋ง

ขอขอบคุณข้อมูลดีๆจาก https://www.silpa-mag.com/

.....

วัตถุมงคลเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี        
วัตถุประสงค์   
1.เพื่อหารายได้เข้ากองทุนการศึกษาสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วัดอรุณราชวราราม จำนวน 1,000,000 บาท               
2.สร้างพระผงของขวัญแจกฟรีแก่ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทั่วประเทศ จำนวน 50,000 เหรียญ                                                

รายการวัตถุมงคล เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี    

ลำดับที่ 1 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขนาด 3.5 เซนติเมตร    
1.1 เนื้อทองคำ น้ำหนัก 22 กรัม ขึ้น - ลง จำนวนการสร้าง 59 เหรียญ บูชาเหรียญละ 75,000 บาท  
1.2 เนื้อเงิน จำนวนการสร้าง 800 เหรียญ บูชาเหรียญละ 2,000 บาท   
1.3 เนื้อทองแดงหน้าเงินลงยา สร้าง 8 สี 1.ลงยาสีธงชาติ 2.ลงยาสีแดง 3.ลงยาสีเหลือง 4.ลงยาสีชมพู 5.ลงยาสีเขียว 6.ลงยาสีส้ม 7.ลงยาสีฟ้า 8.ลงยาสีม่วง จำนวนการสร้างสีละ 800 เหรียญ รวมสร้าง 6,400 เหรียญ บูชาเหรียญละ 400 บาท       
1.4 เนื้อทองสัมฤทธิ์เดช จำนวนการสร้าง 6,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 300 บาท    
1.5 เนื้อทองแดง จำนวนการสร้าง 10,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 200 บาท  

ลำดับที่ 2 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขนาด 2.5 เซนติเมตร    
2.1 เนื้อทองคำ น้ำหนัก 10 กรัม ขึ้น - ลง จำนวนการสร้าง 59 เหรียญ บูชาเหรียญละ 38,000 บาท  
2.2 เนื้อเงิน จำนวนการสร้าง 800 เหรียญ บูชาเหรียญละ 1,500 บาท   
2.3 เนื้อทองแดงหน้าเงินลงยา สร้าง 8 สี 1.ลงยาสีธงชาติ 2.ลงยาสีแดง 3.ลงยาสีเหลือง 4.ลงยาสีชมพู 5.ลงยาสีเขียว 6.ลงยาสีส้ม 7.ลงยาสีฟ้า 8.ลงยาสีม่วง จำนวนการสร้างสีละ 800 เหรียญ รวมสร้าง 6,400 เหรียญ บูชาเหรียญละ 350 บาท       
2.4 เนื้อทองสัมฤทธิ์เดช จำนวนการสร้าง 6,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 250 บาท    
2.5 เนื้อทองแดง จำนวนการสร้าง 10,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 150 บาท   

ลำดับที่ 3  เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เนื้อผงพุทธคุณ 108     
3.1 ฝังตะกรุดทองคำ 1 คู่ จำนวนการสร้าง 300 เหรียญ บูชาเหรียญละ 1,500 บาท   
3.2 ฝังตะกรุดเงิน 1 คู่ จำนวนการสร้าง 500 เหรียญ บูชาเหรียญละ 600 บาท

ลำดับที่ 4 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ชุดกรรมการ จัดรวม 100 ชุด (หมายเลขเดียวกัน)  บูชาชุดละ 12,500 บาท   
(ชุดกรรมการ 1 ชุด ได้รับเหรียญทั้งหมด 24 เหรียญ ประกอบด้วย 4.1 เนื้อเงิน ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.2 เนื้อทองแดงหน้าเงินลงยา 8 สี ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.3 เนื้อทองสัมฤทธิ์เดช ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร  4.4 เนื้อทองแดง ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.5 เนื้อผงพุทธคุณ 108 แบบฝังตะกรุดทองคำ และแบบฝังตะกรุดเงิน) 

รายนามพระเกจิอาจารย์ผู้เรืองวิทยาคมร่วมอธิษฐานจิตปลุกเสก เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่มมหาเศรษฐี
1.พระพรหมวัชรเมธี เจ้าคณะภาค๙ เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม กรุงเทพฯ
2.พระภาวนาวิสุทธิโสภณ (หลวงพ่อสุรศักดิ์) วัดประดู่ พระอารามหลวง สมุทรสงคราม
3.พระครูสุวรรณโชติวุฒิ (หลวงพ่อตี๋) วัดหูช้าง นนทบุรี

4.พระครูวิลาศกาญจนธรรม (หลวงพ่อเล็ก) วัดท่าขนุน กาญจนบุรี
5.พระครูภาวนาภัทรคุณ (ท่านพ่ออติโชติ) วัดพุทไธสวรรย์ อยุธยา
6.พระครูยติธรรมานุยุต (หลวงพ่อแป๊ะ) วัดสว่างอารมณ์ นครปฐม

7.พระครูประภาสธรรมทัต (หลวงพ่อป้อม) วัดหนองม่วง ราชบุรี
8.พระปลัดอำพล ฐิตปุญฺโญ (หลวงพ่ออ๊อด) วัดหูช้าง นนทบุรี 
9.พระครูสมุห์คำนวน ปริสุทฺโธ (หลวงพ่อนวล) วัดแก้วเจริญ สมุทรสงคราม
10.พ่อครูศิริพงษ์ ครุพันธ์กิจ (เกจิฆราวาสผู้เรืองวิทยาคมที่มีความศรัทธาในพระองค์ท่านเป็นอย่างยิ่ง)

รายนามคณะกรรมการการจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่มมหาเศรษฐี

ประธานฝ่ายสงฆ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระพรหมวัชรเมธี เจ้าคุณะภาค๙ เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม

ที่ปรึกษาฝ่ายสงฆ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พระวชิรรัตนาภรณ์ ดร. (ชุมพร) เลขาเจ้าคุณะภาค๙ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม

ที่ปรึกษาฝ่ายฆราวาส การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พ่อครูศิริพงศ์ ครุพันธ์กิจ

ประธานการจัดสร้าง เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
คุณอัครวิทย์ รัตนประสิทธิ์ (วิทย์ วัดอรุณ)

ประธานอุปถัมภ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
1.พลเอก ดร.เดชา เหมกระศรี นายกสมาคมกีฬาจักรยานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมถ์
2.คุณวันชัย ลาภวิไลพงศ์ (โต วัดอรุณ) ประธาน กต.ตร สถานนีตำรวจนครบาลบางกอกใหญ่
3.คุณธนิตย์ ลี้ชัยศิริมงคล (เสี่ยบุ้ง) เจ้าของร้านทองซิงแสงนภาโกลด์ (SSNP GOLD)
4.คุณเพ็ญจันทร์ ล้อสีทอง ประธานสมาพันธ์สตรีทำความดีแห่งประเทศไทย

รองประธานอุปถัมภ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
1.คุณณัฐกาญจน์ ทรัพย์โภค ฝ่ายประชาสัมพันธ์และแนะแนว คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี

ประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
คุณยายสมใจ ณ นคร ประธานมูลนิธิ ณ นคร และสายสัมพันธ์

รองประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
คุณจารุวัตร จันทร์โพธิ์ศรี(อาจารย์ไก่ ทิพยจักร)

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พลโท ชัยธัช สุวรรณกาญจน์ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพบก
พลโท โกศล ชูใจ ที่ปรึกษาพิเศษ สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
พลเรือโท ธัชพงศ์ บุษบง ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพเรือ
ท่านพิทักษ์ อบสุวรรณ อัยการอาวุโส สำนักงานคดียาเสพติด
ท่านสุภาภรณ์ นิปวณิชย์ อัยการผู้เชี่ยวชาญ สำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดียาเสพติด 9
ท่านชิติพัทธ์ คงมาก อัยการจังหวัดคุ้มครองสิทธิและการบังคับคดีจังหวัดราชบุรี
ท่านอาณัติ ศรีสุดดี อัยการจังหวัดชัยบาดาล
พันเอก(พิเศษ) มหินท์ ตุงคะเศรณี ผู้อำนวยการกองการศึกษา โรงเรียนทหารสารวัตร
พันเอก(พิเศษ) เสกสรรค์ พรหมศักดิ์ รองผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 12
คุณณรงค์ วโรดมสถาน (ออด) กรรมการบริหารสมาคมผู้สื่อข่าวต้านคอร์รัปชั่น(ประเทศไทย)
คุณปริญญา แก้วตัน (ล้าน) กรรมการบริหารสมาคมผู้สื่อข่าวต้านคอร์รัปชั่น(ประเทศไทย)

คณะกรรมการจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พระครูพิสิฐสรวุฒิ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม
พระครูพิสุทธิสรคุณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม
พระครูสมุห์ประครอง สุปติฏฺฐิโต วัดอรุณราชวราราม
พระมหาสุวิทย์ ปวิชฺชกิตฺติ วัดอรุณราชวราราม
พระมหากนกพล ธมฺมธีโร วัดอรุณราชวราราม
พระมหาณัฐนนท์ เขมานนฺโท วัดอรุณราชวราราม
พระมหาไตรภพ ติสฺสนาโค วัดอรุณราชวราราม
พระมหาหัสดี จรณธมฺโม วัดอรุณราชวราราม 
พระครูปลัดธนันท์รัฐ โชติธมฺโม วัดประยุรวงศาวาส

คุณฉัตรชัย ทองสวัสดิ์
คุณสมบัติ ทองสวัสดิ์ ประธานชุมชนปรกอรุณ
คุณวรวิทย์ โชคขจิตสัมพันธ์  ประธานชุมชนลานมะขาม-บ้านหม้อ  
คุณสมโภชน์ สูงโพธิ์  ประธานชุมชนข้างโรงเรียนพาณิชยการราชดำเนิน
คุณนพรัตน์ มงคลวิเชียร (แว่น วัดอรุณ)
คุณสมเกียรติ เสิศกาญจนาพร (หยอง วัดอรุณ)
คุณประพัฒน์ จันทร์วันเพ็ญ (แต๊บ วัดอรุณ)
คุณกฤษณะ เนาว์สถาน (นะ เมืองเพชร)
คุณกมล เล้าโสภาภิรมย์ (เตี้ย สวนทะเล)
คุณสรยุทธ์ จุลเจริญนนท์ (ป้อม punk berry)
คุณจันทร์ดาราอัปสร รัตนประสิทธิ์ (อาจารย์ฝนทิพย์)
คุณบัญชา ปานนิวัฒน์ (ป๋าชู วัดเศวต)
คุณสุชาดา ปานนิวัฒน์ (เจ้แป้น วัดเศวต)
คุณวิโรจน์ หอมหวาน (ทนายโรจน์ เพชรบุรี)
คุณมนตรี วิไลสมสกุล (ติ๊ก จันทบุรี)
คุณชลัช ชมเจริญ (กุ้ง ท่าพระจันทร์)